ค้นหา
ภาษาไทย
สินค้าตามประเภท
    เมนู ปิด
    กลับไปทั้งหมด

    ความสำคัญของ อุปกรณ์เซฟตี้ สำหรับป้องกันอันตรายส่วนบุคคล

    ความสำคัญของ อุปกรณ์เซฟตี้ สำหรับป้องกันอันตรายส่วนบุคคล

    อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล (Personal Protective Devices (PPP) หรือ Personal Protective Equipment (PPE)) หมายถึง อุปกรณ์สาหรับผู้ปฏิบัติงานในการสวมใส่ขณะทางานเพื่อป้องกันอันตรายอันอาจเกิดขึ้น เนื่องจากสภาพและสิ่งแวดล้อมของการทางาน การใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล เป็นวิธีการหนึ่งในหลายวิธีในการป้องกันอันตรายจากการทางาน ซึ่งโดยทั่วไปจะมีการป้องกันและควบคุมที่สภาพและสิ่งแวดล้อมของการทางานก่อน โดยการแก้ไขปรับปรุงทางวิศวกรรม การกั้นแยกไม่ให้ปะปนกับสิ่งอื่น หรือการใช้เซฟการ์ดแบบต่าง ๆ หรือการที่จะต้องปรับเปลี่ยนเครื่องจักร เปลี่ยนกรรมวิธีการทางาน ส่วนในกรณีที่ไม่สามารถ ดำเนินการดังกล่าวได้ ก็จะนากลวิธีการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลมาใช้ประกอบด้วย เพื่อช่วยป้องกันอวัยวะของร่างกายในส่วนที่ต้องสัมผัสงานมิให้ประสบอันตรายจากภาวะอันตรายที่อาจเกิดขึ้นขณะทางานอยู่ได้ ซึ่งสามารถแบ่งออกได้ดังนี้

    เครื่องป้องกันศีรษะ (Head Protection Devices)

    ใช้สาหรับป้องกันศีรษะจากการถูกกระแทก ชน หรือวัตถุตกจากที่สูงมากระทบศีรษะ มีลักษณะแข็งแรงและทาด้วยวัสดุที่แตกต่างกันออกไป หมวกนิรภัยซึ่งแบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ แบบมีขอบหมวกโดยรอบ กับแบบที่มีเฉพาะกระบังด้านหน้า

    อุปกรณ์ป้องกันตาและใบหน้า (Eye and Face Protection Devices)

    เป็นอุปกรณ์สาหรับช่วยป้องกันเพื่อลดอันตรายอันอาจจะเกิดขึ้นในขณะทางานที่อาจมีเศษวัสดุ สารเคมี หรือรังสี ที่จะทาให้ใบหน้าและดวงตาเป็นอันตรายได้ แบ่งออกเป็น

    1. แว่นตานิรภัย (Protective Spectacles or Glasses)
    2. อุปกรณ์ป้องกันใบหน้า (Face Protection)

    อุปกรณ์ป้องกันหู (Ear Protection)

    การทางานในสถานที่ที่มีเสียงดังมากเกินกว่าที่หูของคนเราจะรับได้ นั่นคือมีเสียงดังเกินกว่า 85 เดซิเบล จะต้องหาวิธีการที่จะลดความดังของเสียงนั้นและถ้าหากว่ามีความดังเกินกว่า 90 เดซิเบลตลอดเวลาการทางานจะทำให้เกิดอันตรายต่อระบบการได้ยิน สาหรับช่วงเวลาทางานที่ไม่เกินวันละ 8 ชั่วโมง หากมีระดับเสียงดังอยู่ที่ 130 เดซิเบล ถือว่าเป็นอันตรายต่อการได้ยินของหู (กรมอนามัย, มปป.99) ซึ่งที่มาของเสียงอาจจะเนื่องมาจากการทางานกับเครื่องจักรกลต่าง ๆ หรือเสียงจากแรงกระแทกของวัตถุที่เป็นโลหะรุนแรง ดังนั้นการลดระดับความดังของเสียงเพื่อให้อยู่ในช่วงที่ไม่เป็นอันตรายกับหูหรือการควบคุมที่จุดกาเนิดของเสียง เพื่อหลีกเลี่ยงมิให้เสียงมาปะทะกับส่วนการได้ยินของคนนั้นเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง

    อุปกรณ์ป้องกันมือ นิ้วมือ และแขน (Hand Leathers and Arm Protection)

    ในการปฏิบัติงานที่ต้องใช้ส่วนของมือ นิ้วมือ และแขน ซึ่งอาจเสี่ยงต่ออันตรายจากการถูกวัตถุมีคม บาด ตัด การขูดขีดทาให้ผิวหนังถลอก การจับของร้อน หรือการใช้มือสัมผัสวัสดุอุปกรณ์ที่อาจก่อให้เกิดอันตรายอื่น ๆ นั้นจาเป็นต้องมีอุปกรณ์ป้องกัน โดยใช้ถุงมือหรือเครื่องสวมเฉพาะนิ้วชนิดต่าง ๆ ตามความเหมาะสมกับลักษณะของงาน

    อุปกรณ์ป้องกันเท้าและขา (foot protection)

    อุปกรณ์ป้องกันเท้าและขาที่สาคัญและมีความจาเป็นอย่างยิ่งสาหรับผู้ที่ต้องทางานในสถานที่ที่อาจเกิดอันตรายกับเท้า ได้แก่ รองเท้าตั้งแต่รองเท้าธรรมดา รองเท้าหุ้มข้อ และรองเท้าที่เสริมด้วยอุปกรณ์ป้องกันต่าง ๆ เรียกว่ารองเท้านิรภัย สาหรับสวมใส่ในการทางานเพื่อป้องกันอันตรายหรือการบาดเจ็บของเท้าจากการถูกกระแทก ถูกทับหรืองานมีอันตรายอื่น ๆ เกี่ยวกับเท้า

    อุปกรณ์ป้องกันอันตรายของระบบหายใจ (Respiratory Protective Devices)

    อุปกรณ์ป้องกันอันตรายของระบบหายใจ ใช้สาหรับป้องกันอันตรายที่เกิดขึ้นกับระบบหายใจของผู้ที่ทางานในสภาพงานที่มีลักษณะการทางานที่มีมลพิษหรือมีอุปสรรค์ต่อการหายใจ ซึ่งผู้เกี่ยวข้องหรือผู้ที่จะตัดสินใจใช้อุปกรณ์ดังกล่าวจะต้องมีความรู้ มีข้อมูลของสภาพแวดล้อม เพื่อที่จะเลือกใช้อุปกรณ์ได้ถูกต้อง หากการตัดสินใจเลือกใช้เกิดการผิดพลาดหรือไม่มีข้อมูลสาคัญมาก่อน อาจทาให้เกิดอันตรายถึงชีวิตได้

    อุปกรณ์เซฟตี้ป้องกันพิเศษที่ใช้งานเฉพาะ

    ในการปฏิบัติงานใด ที่มีความเสี่ยงอันอาจเกิดอุบัติเหตุหรือความไม่ปลอดภัยจากสภาพของการทางาน จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีอุปกรณ์อานวยความสะดวกเฉพาะงาน แต่ละชนิดในการป้องกันอันตรายให้กับผู้ปฏิบัติงาน

     

    ขอขอบคุณบทความดีๆจากเว็บไซต์ www.safetyppe.com/

    ความคิดเห็น
    แสดงความคิดเห็น ปิด
    *